วันพุธที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2560

ตรรกศาสตร์ (Logic) 
เป็นวิชาพื้นฐานที่สำคัญในการศึกษาวิชาต่างๆ เช่น สังคมศาสตร์ปรัชญา คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์  ปัจจุบันได้มีการนำมาประยุกต์ใช้ในด้านคอมพิวเตอร์ เพราะตรรกศาสตร์เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับกฏเกณฑ์และวิธีการให้เหตุผล นักปราชญ์ซึ่งเป็นบิดาของวิชาตรรกศาสตร์ คือ อาริสโตเติล (Aristotle, 384 - 322 ก่อนคริสตศักราช) โดยอาริสโตเติล เชื่อว่ามนุษณ์เท่านั้นที่สามารถคิดเกี่ยวกับเหตุผลได้ ท่านได้เขียนเขียนตำราชื่อ Organum ซึ่งเกี่ยวกับการให้เหตุผลที่ถูกต้อง หลักการของหนังสือเล่มนี้กลายมาเป็นหลักการของตรรกศาสตร์ในปัจจุบัน ซึ่งวิชานี้จะเป็นวิชาที่ช่วยให้เข้าใจคณิตศาสตร์ได้ลึกซึ้งยิ่งขึ้น จะอธิบายตามลำดับหัวข้อ ดังนี้



5.1 ประพจน์

ประพจน์ หมายถึง ประโยคหรือข้อความที่ใช้สำหรับบอกค่าความเป็นจริงหรือเท็จเพียงอย่างใดอย่าง หนึ่ง ส่วน ประโยคหรือข้อความที่ไม่สามารถบอกค่าความจริงหรือเป็นเท็จได้จะไม่เรียกว่าประพจน์ 
ตัวอย่างของประโยคหรือข้อความที่เป็นประพจน์เช่น ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก สุนัขมี ขา ประเทศไทยมีชายแดนติดกับประเทศอินเดีย เดือนมกราคมมี 30 วัน 
ตัวอย่างของประโยคหรือข้อความที่ไม่เป็นประพจน์เช่น ห้ามเดินลัดสนาม กรุณาปิดไฟก่อนออกจากห้อง เธอกำลังจะไปไหน เขาเป็นนักฟุตบอลทีมชาติไทย Y + 5 = 8  

 5.2 การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อมต่างๆ


ตัวเชื่อมประพจน์ และค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อม
โดยปกติเมื่อกล่าวถึงข้อความหรือประโยคนั้นมักจะมีกริยามากกว่าหนึ่งตัวแสดงว่าได้นำประโยคมาเชื่อมกันมากว่าหนึ่งประโยค ดังนั้นถ้านำประพจน์มาเชื่อมกันก็จะได้ประพจน์ใหม่ซึ่งสามารถบอกได้ว่าเป็นจริงหรือเป็นเท็จ ตัวเชื่อมประพจน์มีอยู่ ตัว และตัวเชื่อมที่ใช้กันมากคือ
และ” “หรือ” “ไม่” ที่เหลืออีกสองตัวคือ ถ้าแล้ว…” และ “…ก็ต่อเมื่อ…” เมื่อนำประพจน์เชื่อมด้วยตัวเชื่อม และ ,หรือถ้าแล้ว, …ก็ต่อเมื่อ
โดยที่ถ้า และ แทนประพจน์ จะเขียน




ถ้ากำหนดให้ แทนค่าความจริงของประพจน์ที่เป็นจริง
แทนค่าความจริงของประพจน์ที่เป็นเท็จ
และ p, q แทนประพจน์ใดๆ ที่ยังไม่ได้ระบุข้อความหรือแทนค่าข้อความลงไป
ประพจน์ p ู จะเรียกว่าข้อความร่วม (conjugate statement) และจะสามารถเขียนตารางค่าความจริงของประพจน์ p     ู ได้ดังนี้



จากตารางจะพบว่า ค่าความจริงของประพจน์ p q จะเป็นจริงถ้าประพจน์ทั้งสองเป็นจริงนอกนั้นจะเป็นเท็จ
 ประพจน์ p ฺ เรียกว่าข้อความเลือก (disjunctive statement) เป็นข้อความที่เป็นจริงถ้า หรือ เป็นอย่างน้อยที่สุดหนึ่งประพจน์ แต่จะไม่เป็นจริงเมื่อทั้งสองประพจน์เป็นเท็จ ตารางค่าความจริงของ p ฺ สามารถเขียนได้ดังนี้


ประพจน์ ~p เรียกว่านิเสธ (negation) p หมายถึงไม่เป็นจริงสำหรับ จะเป็นจริงเมื่อ เป็นเท็จและจะเป็นเท็จเมื่อ เป็นจริง ตารางค่าความจริงของ ~p เป็นดังนี้


ประพจน์ p , q เรียกว่าประโยคเงื่อนไขหรือข้อความแจงเหตุสู่ผล (conditional statement) ประพจน์ เรียกว่าเหตุตัวเงื่อนและ เป็นผลสรุป
เช่น p : นุ่นไปเที่ยวนอกบ้าน
q : คุณพ่อโทรศัพท์ตาม
ดังนั้น p ,q : ถ้านุ่นไปเที่ยวนอกบ้านแล้วคุณพ่อโทรศัพท์ตาม
จากการตรวจสอบเงื่อนไขนี้จะพบว่าประพจน์นี้จะเป็นเท็จกรณีเดียวคือ นุ่นไปเที่ยวนอกบ้านแต่คุณพ่อไม่โทรศัพท์ตาม ดังนั้นจะสามารถแสดงตารางค่าความจริงของประพจน์ p , q ได้ดังนี้



ประพจน์ p ,q เรียกว่าประโยคเงื่อนไขสองทาง (biconditional statement) คือ ประพจน์ที่มีความหมายเหมือนกับ (p ,q) ู (q , p) เนื่องจาก (p , q) และ (q,p) เชื่อมด้วยคำว่า และ” ดังนั้น p q จะมีค่าความจริงเป็นจริงต่อเมื่อประพจน์ และประพจน์ มีค่าความจริงเหมือนกัน ดังตารางต่อไปนี้



จากตารางค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อมทั้ง 5จะพบว่า
1. ~ p มีค่าความจริงตรงกันข้ามกับค่าความเป็นจริงของ p
2. p ,q เป็น กรณีเดียวคือกรณีที่ทั้ง และ เป็น T
3. p ,q เป็น กรณีเดียวคือกรณีที่ทั้ง และ เป็น F
4. p , q เป็น กรณีเดียวคือกรณีที่ทั้ง เป็น และ เป็น F
5. p ,q เป็น เมื่อ และ มีค่าความจริงเหมือนกัน





5.3 การหาค่าความจริงของประพจน์

การหาค่าความจริงของประพจน์



           ตารางค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อมแบบต่างๆ ที่กล่าวมาแล้วมีเพื่อช่วยในการหาว่าประพจน์ใดเป็นจริงหรือเป็นเท็จ  ดังในตัวอย่างต่อไปนี้


ตัวอย่างที่1  จงหาค่าความจริงของประโยคต่อไปนี้
           “เชียงใหม่และธนบุรีเคยเป็นเมืองหลวงของไทย













5.4 สัจนิรันดร์ ประพจน์ขัดแย้ง และคอนทิเจน


สัจนิรันดร์









5.5 การสมมูลกันของประพจน์

การสมมูลกันของประพจน์ (Propositional Equivalence) 
เดือนบอกว่า ฉันไม่ได้ ทำและฉันพูดความจริงนภบอกวา่ ไม่จริงที่เดือนจะเป็นคนทำหรือพูดโกหกกำหนดให้ p แทน เดือนเป็นคนผิด q แทน เดือนพูดความจริง 
ข้อความแรกแปลงประพจน์ประกอบได้เป็น ¬p q ข้อความที่สองได้¬ ( p ¬q) การตรวจสอบความสมมูลกันของสองประโยค คือการตรวจสอบความเป็นสัจนิรันดร์ของนิพจน์ 
ตรรกศาสตร์( )( ) ¬p q ↔ ¬ p ¬q p q (¬p q) ( ) p ¬q ¬( p ¬q) (¬p q)( ) ↔ ¬ p ¬q ข้อความสองข้อความมีความหมายเหมือนกันทางตรรกศาสตร์ เรากล่าวว่า ประพจน์ประกอบท้้งสองสมมูลกันเชิงตรรกศาสตร์(Logical Equivalence) 
บทนิยาม ประพจน์ p และ q จะถูกเรียกว่า สมมูลกันเชิงตรรกศาสตร์ (Logical Equivalence)” ถ้า p ↔ q เป็นสัจนิรันดร์สัญลักษณ์ที่ใช้แทน “ p สมมูลเชิง ตรรกศาสตร์กับ q ” คือ “ p ≡ q ” 
 ตัวอย่างที่ 1.1 จงตรวจสอบว่าข้อความต่อไปนี้สมมูลกันเชิงตรรกศาสตร์หรือไม่ ก. ถ้าสินค้ายังไม่ถึงมือลูกค้าลูกค้าก็ยังไม่ต้องจ่ายเงิน ข. ถ้าลูกคาจ่ายเงินแล้วแสดงว่าสินค้านั้นถึงมือลูกค้าเป็นที่เรียบร้อย ถ้าให้ p แทน สินค้าถึงมือลูกค้า q แทน ลูกค้าจ่ายเงินแล้ว นิพจน์ตรรกศาสตร์แทนข้อความ ก. เป็น ¬p → ¬q นิพจน์ตรรกศาสตร์แทนข้อความ ข. เป็น q → p ตรวจสอบว่า ¬p → ¬q ≡ q → p หรือไม่ 
    5.5.2 กฎการสมมูลเชิงตรรกศาสตร์
1. ¬¬p ≡ p Double negation
2. ( )( ) p q ≡ q p b. ( )( ) p q ≡ q p c. ( )( ) p ↔ q ≡ q ↔ p Commutative Laws 
3. [ ] ( ) p q r ≡ [p ( ) q r ] b. [ ] ( ) p q r ≡ [p ( ) q r ] Associative Laws 
4. [ ] p ( ) q r ≡ [( p q)( ) p r ] b. [ ] p ( ) q r ≡ [( p q)( ) p r ] Distributive Laws 
5. ( ) p p ≡ p b. ( ) p p ≡ p Idempotent Laws 
6. ( ) p F ≡ p b. ( ) p T ≡ T c. ( ) p F ≡ F d. ( ) p T ≡ p Identity Laws 
7. ( ) p ¬p ≡ T b. ( ) p ¬p ≡ F 
8. ¬( )( ) p q ≡ ¬p ¬q b. ¬( )( ) p q ≡ ¬p ¬q c. ( )( ) p q ≡ ¬ ¬p ¬q d. ( )( ) p q ≡ ¬ ¬p ¬q DeMorgan Laws 
9. ( )( ) p → q ≡ ¬q → ¬p Contrapositive 
10. ( )( ) p → q ≡ ¬p q b. ( ) p → q ≡ ¬( p ¬q) Implication 
11. ( )( ) p q ≡ ¬p → q b. ( )( ) p q ≡ ¬ p → ¬q 
12. [ ] ( )( ) p → r q → r ≡ [ ] ( ) p q → r b. [ ] ( )( ) p → q p → r ≡ [ ] p → (q r) 
13. ( ) ( )( ) p ↔ q ≡ [ ] p → q q → p Equivalence 
14. [ ] ( ) p q → r ≡ [p → ( ) q → r ] Exportation Law 
15. ( )( ) p → q ≡ [ ] p ¬q → F Reductio ad absurdum 

 การพิสูจน์ความสมมูลกันเชิงตรรกศาสตร์ของสองประพจน์ประกอบโดยใช้กฎการสมมูลเรียกว่าพีชคณิตประพจน์ (Propositional Algebra) 
ตัวอย่างที่ 1.2 จงแสดงว่า ¬( ) p ( ) ¬p q สมมูลเชิงตรรกศาสตร์กับ ¬p ¬q ทาํ ¬( ) p (¬p q) ≡ ¬p ¬(¬p q) DeMorgan Law 8a ≡ ¬p (¬¬p ¬q) DeMorgan Law 8b ≡ ¬p ( p ¬q) Double negation 1 ≡ ( ) ¬p p (¬p ¬q) Distributive Law 4b ≡ F (¬p ¬q) 7b ≡ ¬p ¬q Identity Law 6a 
บทนิยาม  ประพจน์ p และ q จะถูกเรียกว่า การแจงเหตุสู่ผลเชิงตรรกศาสตร์ (Logical Implication)” ถ้า p → q เป็นสัจนิรันดร์สัญลักษณ์ที่ใช้แทน “ p แจงเหตุสู่ ผล q ” คือ “ p q ” p q มีความหมายว่าสำหรับประพจน์ p และ q ค่าความจริงเป็น จริงและ เท็จ จะไม่เกิดขี้นพร้อมกัน กล่าวคือเมื่อประพจน์ p “จริงประพจน์ q ก็จะเป็น จริงด้วย และเมื่อ ประพจน์ q เป็น เท็จประพจน์ p ก็จะเป็น เท็จด้วย การตรวจสอบการแจงเหตุสู่ผล p q เราสามารถแจงเหตุ p สู่ผล q ได้หรืออีกวิธีหนึ่งในการพิจารณาค่าความจริงของการแจงเหตุสู่ผล คือให้มองข้ามแถวที่ p เป็น เท็จและเช่นเดียวกันก็มองข้าม แถวที่ q เป็น จริงแถวที่p จริง q เท็จ การแจงเหตุสู่ผล p q เป็น เท็จการแจงเหตุสู่ผล p q เป็น จริง” 
ตัวอย่างที่ 1.3 จงตรวจสอบค่าความจริงของการแจงเหตุสู่ผล ¬p ( p → q) จะพิจารณาตารางค่าความจริงเฉพาะที่แถวที่ ¬p เป็น จริงนั่นคือ p q ¬p p → q ¬p → (p → q) F T T T T F F T T T เพื่อความรวดเร็วขึ้นโดยมองหาแถวที่ p → q หรือผลสรุปที่มีค่าความจริงเป็น เท็จ ” p q ¬p p → q ¬p → (p → q) T F F F T 
ตัวอย่างที่ 1.4 จงตรวจสอบกฎการแจงเหตุสู่ผลเชิงตรรกศาสตร์ข้อ 26a [ ] ( )( ) p → q r → s [(p r) → (q s)] ถ้าต้องดูทั้งหมดจะตองใช ้ จำนวนแถวถึงแถว เพื่อความรวดเร็วจะพิจารณาเพียงแถวที่ทำใหํ 26a มีค่าความจริงเป็น เท็จ นั่นคือกรณีที่ [ ] ( )( ) p r → q s เป็น เท็จ แต่ [(p → q) (r → s)] เป็น จริง” ?? เมื่อใดที่ [ ] ( )( ) p r → q s เป็น เท็จ ”  เมื่อ q s เป็น เท็จ นั่นคือทั้ง q และ s มีค่าความจริงเป็นเท็จ p q r s [ ] ( ) p → q (r → s) → [(p r)( ) → q s ]